สำหรับบุคลากร     สำหรับนักศึกษา        
Skip to content

วิชาหัตถกรรมสร้างสรรค์

CREATIVE CRAFT

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

Section 1: General Information

1 . รหัสและชื่อรายวิชา
    (Course code and title )

125-101 หัตถกรรมสร้างสรรค์ CREATIVE CRAFT

2. จำนวนหน่วยกิต
    ( Number of credits )

1 (1-0-2)

3 . หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
    (Program and course categories )

ศึกษาทั่วไป พ.ศ.2563

4 . อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
     ( Course coordinator(s) and lecturer(s) )

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
อาจารย์ผู้สอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด
ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข
นางสาวนราวดี โลหะจินดา
นายวิษณุ เลิศบุรุษ

5 . ชั้นปีที่เรียน/ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอน
     ( Semester/Year of study )

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2563

6. รายวิชาที่เกี่ยวข้อง
     ( Course Prerequisite Subject )

ไม่มี NONE

7 . สถานที่เรียน
     ( Location )

ตึก 19 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
(Prince of Songkla University Pattani Campus)

สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา

8 . วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
     ( Last updated of the course details )

4 สิงหาคม 2562
4 August 2019

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายของรายวิชา

Section 2: Purposes of the course

จุดมุดงหมายของรายวิชา Purposes of the course

เพื่อให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมอันเกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เห็นคุณค่าและความสําคัญของงานหัตถศิลปะที่เป็นทุนทางวัฒนธรรมของพื้นที่ สามารถคิดสร้างสรรค์ผลงานจากทุนทางวัฒนธรรม และทุนทางภูมิปัญญามาต่อยอดทําให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ของรายวิชา

1.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม อันเกิดจากรากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.เพื่อให้ผู้เรียน สามารถใช้ทักษะจากคุณค่าด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีสุนทรียภาพ
3.ผู้เรียนสามารถ นําผลงานสร่างสรรค์ มาก่อให้เกิดคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของชีวิต

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

Section 3: Description and Implementation

1. คำอธิบายรายวิชา ( Course Description )

การคิด การใช้ทักษะ และการจัดการภูมิปัญญา หัตถกรรมท้องถิ่น การผลิตผลงานสร้างสรรค์ เกิดนวัตกรรมนําไปสู่การสร้างคุณค์าและมูลค่าทางเศรษฐกิจ 

Thoughts, skills, and knowledge management of local handicraft; creative work and innovation for value creation and economic value

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา ( Number of hours per semester )

บรรยาย Lecture
(ชั่วโมง/ภาคการศึกษา hours/semester)
ปฏิบัติการ Practice
(ชั่วโมง/ภาคการศึกษา hours/semester)
ศึกษาด้วยตนเอง Self-study
(ชั่วโมง/ภาคการศึกษา hours/semester)
สอนเสริม Extra Class
(ชั่วโมง/ภาคการศึกษา hours/semester)

15

0

30

0

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล ( Number of hours per week for academic guidance to individual students )

1 ชั่วโมง/สัปดาห์ โดยกําหนดไว้ในประมวลผลการสอน หรือโดยแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

Section 4: Learning Outcomes Development

ผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวังจะพัฒนานักศึกษา ( Expected learning outcomes )

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม Moral and Ethics

คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา Morals and Ethics that need to be developed วิธีการสอน Teaching Methods วิธีการประเมินผล Evaluation
1.1 สามารถใช้เหตุผลในการแยกแยะ เชื่อมั่นและรู้คุณค่าในตนเองและผู้อื่น 1.1 ใช้การอภิปรายกลุ่ม
1.2 การลงมือปฏิบัติ
1.1 ประเมินผลงานกลุ่ม / ความรับผิดชอบต่อตนเอง และต่อกลุ่ม
1.2 การสังเกตพฤติกรรม

2. ด้านความรู้ Knowledge

ความรู้ที่ต้องได้รับ Knowledge that needs to be obtained วิธีการสอน Teaching Methods วิธีการประเมินผล Evaluation
2.4 มีทักษะเชิงสังเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 ใช้กรณีศึกษา (case study)
2.2 การลงพื้นที่ภาคสนาม
2.3 การลงมือปฏิบัติ

2.1 การสอบปลายภาค
2.2 ประเมินผลจากผลงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.3 ประเมินผลจากผลงานการลงพื้นที่ภาคสนาม

3. ด้านทักษะทางปัญญา Intellectual skills

ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา Intellectual skills that need to be developed วิธีการสอน Teaching Methods วิธีการประเมินผล Evaluation
3.1 มีจิตสาธารณะ และถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม 3.1 ใช้กรณีศึกษา (case study)
3.2 การลงพื้นที่ภาคสนาม

3.1 การสอบ ปลายภาค
3.2 ประเมินผลจากผลงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา
3.3 ประเมินผลจากผลงานการลงพื้นที่ภาคสนาม

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ Interpersonal skills and responsibilities

ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา Interpersonal skills and responsibilities that need to be developed วิธีการสอน Teaching Methods วิธีการประเมินผล Evaluation
4.7 เข้าใจและยอมรับในพหุวัฒนธรรม ร่วมแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ รับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะพลเมืองที่ดี 4.1 ใช้กรณีศึกษา / บทบาทสมมติ ลงพื้นที่ภาคสนาม
4.1 ประเมินผลจากผลงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2 ความรับผิดชอบในการลงพื้นที่ภาคสนามการทำกิจกรรมกลุ่ม
4.3 การลงมือปฏิบัติ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Numerically analytical, communication and information technology skills

ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา Numerically analytical, communication and information technology skills that need to be developed วิธีการสอน Teaching Methods วิธีการประเมินผล Evaluation
5.9 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีในการสืบค้น และแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย –
5.10 สามารถสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนด้วยภาษาไทยและภาษาสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 มอบหมายงาน –
5.2 นำเสนอ / สอนเป็นภาษาอังกฤษ
5.1 ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2 การสอบปลายภาค
5.3 ประเมินในชั้นเรียน

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมนผล

Section 5: Teaching and Evaluation Plan

แผนการสอน Teaching Plan

สัปดาห์ที่ Week หัวข้อ/รายละเอียด Items/content จำนวน ชั่วโมง บรรยาย Number Of Lecture hours จำนวน ชั่วโมง ปฏบัติ Number of lab hours   จำนวน ชั่วโมง ศึกษาด้วย ตนเอง Number of self hours ชั่วโมง สอนนี้ เป็นการ สอนแบบ เชิงรุก Active Learning กิจกรรมการเรียนการ สอน/สื่อที่ใช้ Teaching & Learning activities/teaching materials   ผู้สอน Lecturer   ผู้สอน เพิ่มเติม Additional Lecturer
1 – พบปะนักศึกษา / ชี้แจง รายละเอียดแบบประมวล รายวิชา /แนะนำวิธีการ เรียน,ข้อตกลงเบื้องต้น – การนำมรดกทาง วัฒนธรรมสร้างมูลค่าทาง เศรษฐกิจ 1 0 2 ใช่ -เกม/กิจกรรมกลุ่ม ผศ.ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข วิษณุ เลิศบุรุษ นราวดี โลหะจินดา
2 บทที่ 1 ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางวัฒนธรรมของพื้นที่ชายแดนใต้ 1 0 2 ใช่ – บรรยาย (ppt./VDO) – อภิปรายกลุ่มย่อย นราวดี โลหะจินดา
3 บทที่ 2 เรียนรู้วัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติ 1 0 2 ใช่ – บรรยาย (ppt./VDO) – แบบทดสอบ นราวดี โลหะจินดา
4 บทที่ 3 แนวคิดการออกแบบสร้างสรรค์ 1 0 2 ใช่ – บรรยาย (ppt./VDO) – กิจกรรมกลุ่ม ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข
5 บทที่ 4 กระบวนการออกแบบสร้างสรรค์ 1 0 2 ใช่ – บรรยาย(ppt./VDO) – กรณีศึกษา – แบบทดสอบ ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข
6 บทที่ 5 การประดิษฐ์สร้างสรรค์การทำผ้าลีมาบาติก 1 0 2 ใช่ – บรรยาย (ppt./VDO) – กิจกรรมกลุ่ม วิษณุ เลิศบุรุษ
7 บทที่ 5 ฝึกการประดิษฐ์สร้างสรรค์การทำผ้าลีมาบาติก 1 0 2 ใช่ – ฝึกปฏิบัติการ วิษณุ เลิศบุรุษ
8 บทที่ 5  ฝึกการประดิษฐ์สร้างสรรค์การทำผ้าลีมา 1 0 2 ใช่ – ฝึกปฏิบัติการ วิษณุ เลิศบุรุษ
9-10 สอบกลางภาค ไม่ใช่
11 บทที่ 6 การประดิษฐ์ ผลงานสร้างสรรค (กลุ่ม) 1 0 2 ใช่ – ฝึกปฏิบัติการ ผศ.ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข วิษณุ เลิศบุรุษ นราวดี โลหะจินดา
12 บทที่ 6 การ ประดิษฐ์ ผลงานสร้างสรรค  (กลุ่ม) 1 0 2 ใช่ – ฝึกปฏิบัติการ ผศ.ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข วิษณุ เลิศบุรุษ นราวดี โลหะจินดา
13 บทที่ 6 การประดิษฐ์ ผลงานสร ้างสรรค์ (กลุ่ม) 1 0 2 ใช่ – ฝึกปฏิบัติการ ผศ.ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข วิษณุ เลิศบุรุษ นราวดี โลหะจินดา
14 บทที่ 6 การประดิษฐ์ ผลงานสร้างสรรค  (กลุ่ม) 1 0 2 ใช่ – ฝึกปฏิบัติการ ผศ.ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข วิษณุ เลิศบุรุษ นราวดี โลหะจินดา
15-16 นำเสนอผลงาน 1 0 2 ใช่ – นำเสนอผลงาน ผศ.ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข วิษณุ เลิศบุรุษ นราวดี โลหะจินดา

คะแนนเก็บ

ภาคทฤษฏี แบบฝึกหัดออนไลน์ 10 คะแนน ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข
แบบฝึกหัดออนไลน์ 10 คะแนน นราวดี โลหะจินดา
ภาคปฏิบัติ ผลงานลีมาบาติก 10 คะแนน วิษณุ เลิศบุรุษ
โครงงาน ผลงานหัตถกรรมสร้างสรรค์ 60 คะแนน ผศ.ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข วิษณุ เลิศบุรุษ นราวดี โลหะจินดา
จิตพิสัย 10 คะแนน ผศ.ดร.พรปวีณ์ พุ่มเกิด ดร.ชนกิตติ์ ธนะสุข วิษณุ เลิศบุรุษ นราวดี โลหะจินดา
รวม 100 คะแนน

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Section 6: Teaching Materials

1. ตำราและเอกสารหลัก Required textbooks and materials

หนังสือ เอกสาร บทความต่างๆ

กรมอาเซียน. 2555. บันทึกการเดินทางอาเซียน. กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ.

โจเซฟ เอส.จี.. 2555. ความรู้เบื้องต้นกลุ่มประเทศอาเซียน. กรุงเทพฯ: ดวงกมลพับลิชชิ่ง.

ประทุม ชุ่มเพ็งพันธ์.(2544). วิธีชาวใต้ประเพณีและวัฒนธรรม. ชมรมเด็ก. กรุงเทพฯ.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2540). การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุน สนบัสนุนการวิจัย.

นิคม จารุมณี. (2544). การท่องเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์   บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: บริษัทเพรส แอนด์ ดีไซน์ จำกัด

Mohd.Zamberi A. Malek. (1993). Umat Islam Patani Sejarah dan Politik. Shah Alam : HIZBI Sdn.Bhd.

Teeuw,A. and Wyatt, D.K. (1970). Hikayat Patani : The Story of Patani. The Hague : Martinus Nijhoff.

2. Other materials

Websites

http://culture.pn.psu.ac.th/

http://www.dasta.or.th/th/

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

Section 7: Course Evaluation and Improvement

1. การประเมินการดำเนินการของรายวิชา Evaluation on course effectiveness

1.1 ประเมินรายวิชา Course evaluation

– ให้นักศึกษาประเมิน/แสดงความเห็นผ่านการประเมินรายวิชา, การประเมินการสอนของอาจารย์

– การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและนักศึกษา

– การสะท้อนคิดของนักศึกษา

1.2 ประเมินอาจารย์ผู้สอน Teacher evaluation

– อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง

– ผลการสอบ/ผลการเรียนรู้

– การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้

1.3 การทวนสอบรายวิชา Review of students’ academic performance

– มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาจากแบบสอบถามออนไลน์

– ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบและ/หรือ งานที่ได้รับมอบหมาย

2. การนำผลการประเมินมาปรับปรุงรายวิชา Assessment result to improve the course

– นำผลการประเมินโดยนักศึกษาจากข้อ 1 และการประเมินการสอนจากข้อ 2 มาประมวลเพื่อปรับปรุงรายวิชา การจัดการเรียนการสอน

– จัดประชุม/สัมมนาอาจารย์ผู้สอนกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อทบทวนและปรับปรุงรายวิชา

– ปรับปรุงประมวลรายวิชาทุกปี ตามข้อมูลจากการประเมิน

หมวดอื่นๆ

Section Other

  1. การจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัยหรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน Teaching and learning development through learning management from research and knowledge management process

จัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ใช้วิธีการสอนที่มีความหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning)

  1. การบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรืองานบริการวิชาการแก่สังคมกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน

Integrating research process or innovation or academic services to thatching and learning process

จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนโดยบูรณาการร่วมกับงานวิจัยเรื่องมอ.ปัตตานีกับการพัฒนางานศิลปวัฒนธรรม และงานบริการวิชาการ โครงการวงแหวนพหุวัฒนธรรมเมืองปัตตานี